Slide 1: อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์ แบ่งได้ : อาณาจักรสัตว์ แบ่งได้ พวก ฟองน้ำ พวก สัตว์ขาข้อ 9 ไฟลัม พวก สัตว์ที่มีโพรงในลำตัวเป็นท่อทางเดิน พวก หนอนตัวแบน พวกหนอนตัวกลม พวก หนอนปล้อง พวก สัตว์ที่มีตัว อ่อนนิ่ม พวก สัตว์ที่มีผิวลำตัวหยาบหรือเป็นหนาม พวก สัตว์มีกระดูกสันหลัง
พวก ฟองน้ำ (Phylum Porifera): พวก ฟองน้ำ (Phylum Porifera) ลักษณะที่สำคัญ : เป็นสัตว์พวกแรกที่ประกอบด้วยหลายเซลล์มาอยู่รวมกันแต่ยังไม่พัฒนาเป็นเนื้อเยื่อ มีโครงร่างค้ำจุนต่างกัน เช่น ซิลิกา หินปูน โปรตีน
นักเรียนคิดว่าฟองน้ำถูตัวมีโครงร่างค้ำจุนเป็นอะไร: นักเรียนคิดว่าฟองน้ำถูตัวมีโครงร่างค้ำจุนเป็นอะไร นักเรียนคิดว่าฟองน้ำดำรงชีวิตอย่างไร สามารถนำฟองน้ำมาทำประโยชน์อะไรได้บ้าง
Slide 8: พวก สัตว์ที่มีโพรงในลำตัวเป็นท่อทางเดินอาหาร (Phylum Cnidaria) ลักษณะที่สำคัญ : มีรูปร่างคล้ายถุง มีหนวดซึ่งมีเซลล์เข็มพิษสำหรับป้องกันตัว และแทงเหยื่อให้สลบแล้วจึงกินเหยื่อ
ส่วนใหญ่อาศัยในทะเล: ส่วนใหญ่อาศัยในทะเล แมงกะพรุน
Slide 10: ส่วนใหญ่อาศัยในทะเล แมงกะพรุน
Slide 11: ส่วนใหญ่อาศัยในทะเล ดอกไม้ทะเล
Slide 12: อาศัยในทะเล กัลปังหา ปะการัง
Slide 13: กัลปังหา ดอกไม้ทะเล
Slide 15: ปะการัง
Slide 17: อาศัยในน้ำจืด ไฮดรา จะเคลื่อนที่ด้วยแทนทาเคิล
นักเรียนคิดว่าสัตว์ในกลุ่มนี้มีประโยชน์หรือโทษอย่างไรบ้าง: นักเรียนคิดว่าสัตว์ในกลุ่มนี้มีประโยชน์หรือโทษอย่างไรบ้าง
Slide 19: พวก หนอนตัวแบน (Flat worm) (Phylum Platyhelminthes) ลักษณะที่สำคัญ : มีช่องเปิดของลำตัวด้านเดียวคือปาก ส่วนใหญ่เป็นปรสิต
พยาธิใบไม้: พยาธิใบไม้ พยาธิตัวตืด
อาศัยอยู่ในน้ำ คือ พลานาเรีย: อาศัยอยู่ในน้ำ คือ พลานาเรีย
Slide 22: พวก หนอนตัวกลม (Round worm) (Phylum Nemathelminthes) ลักษณะที่สำคัญ : มีลำตัวกลมยาวเรียวเหมือนเส้นด้าย มีช่องเปิดของลำตัว 2 ช่อง คือ ปากและทวารหนัก
พยาธิเส้นด้าย: พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า
Slide 24: พยาธิไส้เดือน
Slide 25: พยาธิไส้เดือน
นักเรียนรู้จักโรคที่เกิดจากหนอนตัวกลมและหนอนตัวแบนอะไรบ้าง และจะมีวิธีป้องกันอย่างไร: นักเรียนรู้จักโรคที่เกิดจากหนอนตัวกลมและหนอนตัวแบนอะไรบ้าง และจะมีวิธีป้องกันอย่างไร
Slide 27: พวก หนอนปล้อง (Phylum Annelida) ลักษณะที่สำคัญ : มีลำตัวกลมยาวเป็นปล้อง ๆ อยู่ในดินและอยู่ในน้ำ
Slide 28: ไส้เดือนดิน
Slide 29: ปลิงน้ำจืด
Slide 30: ทาก
นักเรียนคิดว่าหนอนปล้องมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศอย่างไร: นักเรียนคิดว่าหนอนปล้องมีประโยชน์ต่อระบบนิเวศอย่างไร
Slide 32: พวก สัตว์ขาข้อ (Phylum Arthropoda) ลักษณะที่สำคัญ : มีโครงร่างแข็งอยู่ภายนอกเมื่อโตเต็มที่จะลอกคราบ มีหนวดเป็นอวัยวะรับสัมผัส สามารถแบ่งได้ 6 กลุ่ม (class)
1. พวกกุ้ง ปู (Crustacea): 1. พวกกุ้ง ปู (Crustacea) มีหัวและอกเชื่อมติดกัน มีขา 5 คู่ มีหนวด 2 คู่ เช่น กุ้ง กั้ง ปู
Slide 34: 2. พวกแมลง (Insecta) มีร่างกาย 3 ส่วน หัว อก ท้อง มีขา 3 คู่ มีหนวด 1 คู่ เช่น ผึ้ง มด ผีเสื้อ ยุง
Slide 36: 3. ตะขาบ (Chliopoda) มีหัวและอกเชื่อมติดกัน ท้องเป็นปล้องมีขาปล้องละ 1 คู่ มีหนวด 1 คู่ เช่น ตะขาบ
Slide 37: 4. กิ้งกือ (Diplopoda) หัวและอกสั้น ท้องเป็นปล้องมีขาปล้องละ 2 คู่ มีหนวด 1 คู่ เช่น ตะเข็บ กิ้งกือ
Slide 38: 5. แมงดาทะล (Merostomata) มีหัวและอกเชื่อมติดกัน มีขา 5 คู่ ไม่มีหนวด เช่น แมงดาทะเล
Slide 39: 6. พวกแมงมุม (Arachindaa) มีหัวและอกเชื่อมติดกัน มีขา 4 คู่ ไม่มีหนวด เช่น แมงมุม แมงป่อง
สัตว์ขาข้อ 6 กลุ่มนี้มีลักษณะอะไรที่เป็นลักษณะเด่นของแต่ละกลุ่ม นักเรียนคิดว่าการลอกคราบของสัตว์ขาข้อ มีความจำเป็นอย่างไร นักเรียนคิดว่าสัตว์ขาข้อมีอวัยวะหายใจเหมือนหรือต่างกันอย่างไร: สัตว์ขาข้อ 6 กลุ่มนี้มีลักษณะอะไรที่เป็นลักษณะเด่นของแต่ละกลุ่ม นักเรียนคิดว่าการลอกคราบของสัตว์ขาข้อ มีความจำเป็นอย่างไร นักเรียนคิดว่าสัตว์ขาข้อมีอวัยวะหายใจเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
Slide 41: พวก สัตว์ที่มีตัวอ่อนนิ่ม (Phylum Mollusca) ลักษณะที่สำคัญ : มีลำตัวอ่อนนิ่ม มีเปลือกแข็ง ยกเว้นหมึกที่ไม่มีเปลือกแข็ง มีกล้ามเนื้อเท้าแข็งแรง ส่วนมากอาศัยอยู่ในน้ำ
หอยทาก: หอยทาก
Slide 43: หอยงวงช้าง หอยมือเสือ
Slide 44: หมึก
Slide 46: หมึกกระดอง
Slide 47: พวก สัตว์ที่มีผิวลำตัวหยาบหรือเป็นหนาม (Phylum Echinodermata) ลักษณะที่สำคัญ : มีโครงร่างเป็นหินปูน ลักษณะลำตัวเป็นแนวรัศมี 5 แฉก มีเท้าท่อใช้ในการเคลื่อนที่ อาศัยอยู่ในน้ำทะเล
Slide 48: ดาวทะเล
Slide 51: ปลิงทะเล
Slide 52: เม่นทะเล
Slide 54: อีแปะทะเล
Slide 55: พวก สัตว์มีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) (Phylum Chrodata) ลักษณะที่สำคัญ : มีกระดูกสันหลังเป็นโครงร่างค้ำจุน มีระบบประสาทพัฒนาดี ระบบหมุนเวียนเลือดปิด มีทั้งสัตว์เลือดเย็นและสัตว์เลือดอุ่น แบ่งออเป็น 7 กลุ่ม (class)
ปลากระดูกอ่อน (Chondrichthyes) มีครีบ ช่องเหงือกไม่มีแผ่นปิด: ปลากระดูกอ่อน (Chondrichthyes) มีครีบ ช่องเหงือกไม่มีแผ่นปิด ปลาปากกลม
Slide 57: ปลาแฮกฟิส
Slide 58: ปลาฉลาม
Slide 59: ปลากระดูกแข็ง (Osteichthyes) มีครีบ ช่องเหงือกมีแผ่นปิด และมีหัวใจ 2 ห้อง
Slide 61: สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (Amphibia) ผิวหนังนิ่มชื้น มีหัวใจ 3 ห้อง
Slide 62: เช่น กบ อึ่งอ่าง เขียดปาด งูดิน
Slide 63: สัตว์เลื้อยคลาน (Reptilia) ผิวหนังแห้งเป็นเกล็ด มีหัวใจ 3 ห้อง
Slide 68: นก (Aves) มีขนแบบขนนก และมีปีก มีหัวใจ 4 ห้อง
Slide 72: สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม (Mammalia) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มีหัวใจ 4 ห้อง
สัตว์ทั้งหมด 9 ไฟลัม เราสามารถจัดกลุ่มออกเป็น อีก 2 ประเภทคือ 1. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ สัตว์ใน ไฟลัมที่ 1 – 8 2. สัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ สัตว์ในไฟลัมที่ 9 : สัตว์ทั้งหมด 9 ไฟลัม เราสามารถจัดกลุ่มออกเป็น อีก 2 ประเภทคือ 1. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ สัตว์ใน ไฟลัมที่ 1 – 8 2. สัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ สัตว์ในไฟลัมที่ 9